case-0120
case-0117
case-0119
case-0118
case-0121
case-0123
case-0122
case-01
case-015
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-011
case-012
case-013
case-014
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-0116
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-016
case-017
case-018
case-019
case-0110
case-0111
case-0112
case-01
case-01
case-0113
case-0114
case-0115
previous arrow
next arrow
case-0120
case-0117
case-0119
case-0118
case-0121
case-0123
case-0122
case-01
case-015
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-011
case-012
case-013
case-014
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-0116
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-01
case-016
case-017
case-018
case-019
case-0110
case-0111
case-0112
case-01
case-01
case-0113
case-0114
case-0115
previous arrow
next arrow

การจัดฟันร่วมกับผ่าตัดขากรรไกร

การผ่าตัดกระดูกขากรรไกร

การผ่าตัดคาง

การผ่าตัดศัลยกรรมโครงหน้า

การผ่าตัดขากรรไกรเพื่อแก้ไขภาวะหยุดหายใจขณะหลับ

การผ่าตัดกรามวีไลน์

การผ่าตัดขากรรไกร

การผ่าตัดขากรรไกรหรือคำเต็มคือการผ่าตัดขากรรไกรร่วมกับการจัดฟัน เพื่อแก้ไขความผิดปกติของกระดูกขากรรไกรและจัดเรียงตำแหน่งของกระดูกขากรรไกรและฟันให้อยู่ตำแหน่งใหม่ที่สมดุลในการสบฟัน และเพิ่มความสวยงามของรูปหน้า

การผ่าตัดขากรรไกรเป็นทางเลือกในการแก้ไขการสบฟันผิดปกติที่ไม่สามารถแก้ไขด้วยการจัดฟันเพียงอย่างเดียว โดยทั่วไปผู้ป่วยมักได้รับการติดเครื่องมือเพื่อแก้ไขการสบฟันก่อนการผ่าตัด และหลังการผ่าตัดเป็นช่วงระยะเวลาหนึ่ง ทันตแพทย์จัดฟันจำเป็นต้องทำงานร่วมกับทันตแพทย์ผ่าตัดช่องปากและกระดูกขากรรไกรเพื่อร่วมกันวางแผนการักษา

การผ่าตัดกระดูกขากรรไกรควรทำเมื่อผู้ป่วยหยุดการเจริญเติบโตซึ่งประมานอายุ 18 ปี ในผู้หญิง และ 20 ปีในผู้ชาย

การผ่าตัดกระดูกขากรรไกรสามารถแก้ไข

• ประสิทธิภาพการเคี้ยวอาหาร
• แก้ไขการพูด หรือการกลืน
• ลดการฟันสึกหรือฟันแตกมากเกินปกติ
• แก้ไขการสบฟันเปิดหรือตำแหน่งที่ฟันไม่สามารถสัมผัสกันเมื่อกัดฟันเต็มที่
• แก้ไข้รูปหน้าที่ไม่สมมาตร หรือผิดสัดส่วนเช่น คางสั้น ยิ้มเห็นเหงือกมาก คางยื่น หรือปากอูมผิดปกติ
• แก้การปิดปากไม่สนิทในสภาวะผ่อนคลาย
• บรรเทาอาการหยุดหายใจในขณะนอน หรือภาวะนอนกรน

 

ความเสี่ยง

การผ่าตัดขากรรไกรโดยทั่วไปเป็นหัตถการที่มีความปลอดภัยหากผ่าตัดโดยทันตแพทย์ผ่าตัดช่องปากและขากรรไกร ที่ทำงานร่วมกับทันตแพทย์จัดฟัน
ความเสี่ยงจากการผ่าตัด
• สูญเสียเลือด
• แผลติดเชื้อ
• อาการชาบริเวณริมฝีปาก
• กระดูกขากรรไกรหักอย่างไม่พึงประสงค์
• การกลับคืนตำแหน่งเดิมก่อนการผ่าตัด
• การสบฟันไม่สนิทหรือปวดข้อต่อขากรรไกร
• มีเหตุจำเป็นต้องผ่าตัดซ้ำ
• มีเหตุจำเป็นต้องรักษารากฟัน หรือสูญเสียฟัน
• เกิดการสูญเสียกระดูกขากรรไกรบางส่วน

 

ระยะพักฟื้นหลังการผ่าตัด

• ปวดและบวม
• การทานอาหารได้ลำบากอาจจำเป็นต้องรับประทานอาหารเสริม
• จำเป็นต้องใช้เวลาเพื่อปรับสภาพจิตใจให้รับกับรูปหน้าที่เปลี่ยนแปลง

โดยทั่วไปนั้น ทันตแพทย์จัดฟันทำการตืดเครื่องมือจัดฟันก่อนการผ่าตัดประมาน 12 ถึง 18 เดือน เพื่อจัดเรียงและปรับระดับฟันก่อนการผ่าตัด
ทันตแพทย์จัดฟันทำการวางแผนรักษาร่วมกับทันแพทย์ผ่าตัดช่องปากและกระดูกขากรรไกร โดยจำเป็นต้องใช้ภาพถ่ายรังสี รูปถ่ายและแบบจำลองการสบฟันเพื่อวางแผนการรักษา ในบางกรณีอาจจำเป้นต้องมีการกรอแต่งฟันเพื่อแก้การสบฟันร่วมด้วย

การทำถ่ายภาพรังสีสามมิติด้วยคอมพิวเตอร์ ร่วมกับการวางแผนการรักษาโดยใช้โปรแกรมจำลองสามมิติ จะมีส่วนช่วยในการวางแผนการรักษาเป็นอย่างมาก และเป็นเครื่องมือในการสื่อสารแผนการรักษาของทันตแพทย์ผู้รักษาไปยังผู้ป่วยได้ดีขึ้น

รายละเอียดการผ่าตัด

ก่อนการผ่าตัด

การผ่าตัดขากรรไกรทำการผ่าตัดโดยทันตแพทย์ผ่าตัดช่องปากและกระดูกขากรรไกร โดยผ่าตัดภายใต้การดมยาสลบทั่วร่าง ผ่าตัดภายในโรงพยาบาลที่มีความพร้อมและพักฟื้นในโรงพยาบาล 2-4 วัน

 

ระหว่างการผ่าตัด

การผ่าตัดจะกระทำผ่านทางช่องปาก ดังนั้นจึงไม่มีแผลบริเวณใบหน้า คาง หรือรอบริมฝีปาก อย่างไรก็ตามบางกรณีอาจจำเป็นต้องมีแผลขนาดเล็กนอกช่องปาก
ทันตแพทย์ผู้ทำการผ่าตัดทำการตัดและเลื่อนกระดูกขากรรไกรไปยังตำแหน่งที่วางแผนไว้ เมื่อทำการเลื่อนได้ตำแหน่งที่ต้องการ ทำการยึดกระดูกด้วยโลหะยึดกระดูกและสกรูขนาดเล็ก โดยโลหะยึดกระดูกจะมีขนาดเล็กและสามารถเชื่อมสมานกับเนื้อกระดูกได้เมื่อเวลาผ่านไป

ในบางกรณีเมื่อพิจารณาด้านความสวยงามแล้วทันตแพทย์ผู้ทำการผ่าตัดจะทำการผ่าตัดมุมกรามหรือคางไปพร้อมกัน โดยแจ้งให้ผู้ป่วยทราบก่อนการผ่าตัดและปรึกษาร่วมกันเพื่อให้ได้รูปหน้าที่เหมาะสมกับผู้ป่วยแต่ละราย

การผ่าตัดกระดููกขากรรไกรล่าง (mandibular osteotomy)

  • แก้ไขภาวะยื่นของกระดูกขากรรไกรล่าง
  • แก้ไขภาวะถอยของกระดูกขากรรไกรล่าง
  • แก้ไขภาวะเบี้ยวไม่สมมาตรของกระดูกขากรรไกรล่าง

ทันตแพทย์ผ่าตัดทำการตัดกระดูกด้านหลังฟันกรามตลอดแนวทั้งสองข้างจึงสามารถเลื่อนฟันและกระดูกขากรรไกรล่างด้านหน้าได้ โดยกระดูกขากรรไกรสามารถเลื่อนไปสู่ตำแหน่งใหม่ทั้งด้านหน้าและหลัง เมื่อได้ตำแหน่งที่ต้องการแล้วทำการยึดกระดูกด้วยโลหะยึดกระดูก

การผ่าตัดคาง (genioplasty)

Chin surgery

การผ่าตัดคางสามารถแก้ไขความผิดปกติของภาวะคางเล็กหรือคางยื่น ที่ร่วมกับการที่มีความผิดปกติของกระดูกขากรรไกรล่างยื่นหรือถอย โดยสามารถทำได้พร้อมกับการผ่าตัดกระดูกขากรรไกรล่าง โดยผ่าตัดกระดูกคางและเลื่อนไปยังตำแหน่งที่วางแผนไว้แล้วยึดด้วยโลหะยึดกระดูก
ข้อควรปฎิบัติหลังการผ่าตัด
• รับประทานอาหารอ่อน
• ดูแลความสะอาดช่องปากและแผลด้วยแปรงสีฟันขนาดเล็ก
• หลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่
• หลีกเลี่ยงการออกกำลังกายหนัก
• ทานยาระงับปวด
• ผู้ป่วยสามารถกลับไปทำงานได้ภายในหนึ่งถึงสองสัปดาห์

การหายของแผลและการฟื้นตัวของกระดูกขากรรไกรใช้เวลาประมาน 6 สัปดาห์หลังผ่าตัดและจะหายอย่างสมบูรณ์อาจใช้เวลาถึง 3 เดือน
หลังจากผ่าตัดขากรรไกรประมาน 4-6 สัปดาห์ผู้ป่วยจะได้เริ่มการจัดฟันต่อโดยทันตแพทย์จัดฟัน โดยกระบวนการจัดฟันร่วมกับการผ่าตัดใช้เวลารักษาต่อเนื่องยาวนานเกินหนึ่งถึงสองปี หลังจากนั้นจำเป็นต้องมาพบทันตแพทย์ผ่าตัดและจัดฟันต่อเนื่องเพื่อการติดตามผลการรักษาในระยะยาว

ผลของการรักษา

การแก้ไขการเรียงตัวของฟันและเปลี่ยนตำแหน่งของกระดูกขากรรไกรส่งผลหลายประการ

  • สร้างสมดุลของรูปหน้าส่วนล่าง
  • เพิ่มประสิทธิภาพและความสวยงามของฟัน
  • ประโยชน์จากการนอน หายใจ เคี้ยวและกลืน
  • แก้ไขภาวะพูดไม่ชัดเจน
  • เสริมสร้างความมั่นใจและบุคลิกภาพ
Scroll to Top